สำหรับนักลงทุน

ชื่อบริษัท :บริษัท ยูไนเต็ด เปเปอร์ จำกัด (มหาชน)
ลักษณะการประกอบธุรกิจ :ผลิตและจำหน่ายกระดาษคราฟท์สำหรับอุตสาหกรรมหีบห่อและบรรจุภัณฑ์
เลขทะเบียนบริษัทที่ :บมจ. 0107547000281
ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ :เลขที่ 113 – 115 ถ. ริมคลองประปา แขวงบางซื่อ เขตบางซื่อ กรุงเทพฯ 10800
โทรศัพท์ :02-910-2700 (อัตโนมัติ)
โทรสาร :02-910-2707,2709
ที่ตั้งโรงงาน :เลขที่ 61 หมู่ 8 ต.วัดโบสถ์ อ.เมือง จ.ปราจีนบุรี 25000
โทรศัพท์ :037-482-966-69
โทรสาร :037-482-970
ทุนที่เรียกชำระแล้ว :650,000,000 บาท
เว็บไซต์ :www.unitedpaper.co.th
ผู้สอบบัญชี :นางสาวกมลเมตต์ กฤตยาเกียรณ์ ผู้สอบบัญชีรับอนุญาตเลขทะเบียน 10435
นางสุวิมล กฤตยาเกียรณ์ ผู้สอบบัญชีรับอนุญาตเลขทะเบียน 2982
นายนพฤกษ์ พิษณุวงษ์ ผู้สอบบัญชีรับอนุญาตเลขทะเบียน 7764
นายวิโรจน์ สัจจธรรมกุล ผู้สอบบัญชีรับอนุญาตเลขทะเบียน 5128
บริษัท สอบบัญชี ดี ไอ เอ อินเตอร์เนชั่นแนล จำกัด
316/32 สุขุมวิท 22 (ซอยสายน้ำทิพย์) เขตคลองเตย กรุงเทพ ฯ 10110
นายทะเบียน :บริษัท ศูนย์รับฝากหลักทรัพย์ (ประเทศไทย) จำกัดเลขที่ 62 อาคารตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ชั้น 4, 6-7 ถนนรัชดาภิเษก คลองเตย กรุงเทพ 10110 โทรศัพท์ 02-229-2800
นักลงทุนสัมพันธ์ :นายวัฒนธนพล วัฒน์ธนวงศธร โทรศัพท์ 02-910-2700 ต่อ 48
ผู้ตรวจสอบการลงคะแนนเสียงในการประชุมผู้ถือหุ้น :นางรุจิรา สกลวิจิตร
นโยบายการจ่ายเงินปันผล :ไม่ต่ำกว่าร้อยละ 50 ของกำไรสุทธิหลังหักภาษี หรือตามความเหมาะสมหากไม่มีความจำเป็นอื่นใด
โครงสร้างรายได้ปี 2564
(12 เดือน)
 ปี 2565
(12 เดือน)
ปี 2566
(12 เดือน)
ล้านบาทร้อยละล้านบาทร้อยละล้านบาทร้อยละ
1. รายได้จากการขาย
1.1 แบ่งตามประเภทกระดาษ
กระดาษคราฟท์สำหรับทำผิวกล่อง1,785.2038.622,169.5843.571,848.6544.10
กระดาษคราฟท์สำหรับทำลอนลูกฟูก2,815.4460.902,793.1556.092,223.0253.03
รวมรายได้จากการขายกระดาษ4,600.6499.524,962.7399.664,071.6797.13
1.2 แบ่งตามตลาดที่จัดจำหน่าย
ตลาดในประเทศ4,525.3297.894,962.0099.654,071.6797.13
ตลาดต่างประเทศ75.321.630.730.01
รวมรายได้จากการขายกระดาษ4,600.6499.524,962.7399.664,071.6797.13
2. รายได้อื่น ๆ
รายได้ค่าขายไฟฟ้า12.770.285.980.1211.820.28
รายได้อื่น ๆ9.230.2010.950.22108.352.59
รวมรายได้อื่น ๆ22.000.4816.930.34120.172.87
รายได้รวม (1.1 หรือ 1.2 + 2)4,622.64100.004,979.66100.004,191.84100.00

ตารางแสดงกำลังการผลิตและการบริโภคในอุตสาหกรรมกระดาษคราฟท์

Unit : Thousand Tons
GRADE
2019
2020
2021
2022
2023E
KRAFT PAPER
CONSUMPTION
2,834
2,911
2,989
3,070
3,153
PRODUCTION
3,251
3,420
3,645
3,645
3,645
SURPLUS (SHORTAGE)
417
509
656
575
492
TOTAL PAPER AND
PAPERBOARD
CONSUMPTION
4,535
4,579
4,628
4,683
4,743
PRODUCTION
5,083
5,377
5,602
5,602
5,602
SURPLUS (SHORTAGE)
548
798
974
919
859
POPULATION
(MILLION)
66.5ุ6
66.19
66.17
66.09
66.50
PER CAPITA CONSUMPTION
(kg./Head)
68
69
69
70
71

1. โครงการก่อสร้างและติดตั้งเครื่องกำเนิดกระแสไฟฟ้าพลังงานความร้อนร่วม
บริษัทอยู่ในระหว่างการดำเนินการก่อสร้างโรงไฟฟ้าพลังงานความร้อนร่วม โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อผลิตไฟฟ้า สำหรับใช้ในกระบวนการผลิตกระดาษ ซึ่งมีกำลังการผลิตไฟฟ้ารวมประมาณ 7.5 เมกะวัตต์ และกำลังการผลิตไอน้ำ 70 ตันต่อชั่วโมง โดยไอน้ำดังกล่าวจะถูกนำมาใช้ในการผลิตไฟฟ้าก่อน หลังจากนั้นจะมีไอน้ำส่วนที่เหลือจากการผลิตไฟฟ้า สามารถนำมาใช้ในกระบวนการผลิตได้ประมาณ 35 ตันต่อชั่วโมง โรงไฟฟ้าดังกล่าว จะผลิตกระแสไฟฟ้าได้ประมาณ 7.5 เมกะวัตต์ต่อชั่วโมง ซึ่งหักจากส่วนที่โรงปั่นไฟฟ้าใช้เองแล้วจะเหลือสำหรับโรงงานผลิตกระดาษ 6.7 เมกะวัตต์ต่อชั่วโมง และจะได้ไอน้ำมาใช้เพื่อผลิตกระดาษ อีกจำนวน 35 ตันต่อชั่วโมง โดยไอน้ำที่ได้จะมีคุณภาพมากกว่าที่บริษัทเคยใช้อยู่เดิม เนื่องจากมีความสะอาดกว่าและมีความร้อนสูงกว่า ทั้งนี้ โรงไฟฟ้าดังกล่าวจะช่วยให้บริษัทสามารถประหยัดค่าพลังงานได้ประมาณปีละ 45 – 70 ล้านบาท (หลังหักค่าเสื่อมและดอกเบี้ยที่เกิดขึ้นจากการลงทุนสร้างโรงไฟฟ้าดังกล่าวแล้ว) ทั้งนี้ ขึ้นอยู่กับจำนวนชั่วโมงที่ ใช้ในการผลิตและค่าวัตถุดิบและค่าไฟฟ้าที่เกิดขึ้นจริงด้วย นอกจากนี้ โรงไฟฟ้าดังกล่าวยังช่วยให้ระบบการจ่ายกระแสไฟฟ้าของโรงงานมีเสถียรภาพมากยิ่งขึ้น ส่งผลให้การผลิตของบริษัทมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น
2. โครงการขยายกำลังการผลิตไฟฟ้าพลังงานความร้อนร่วมจาก 7.5 เมกะวัตต์ เป็น 9.5 เมกะวัตต์
โดยมีรายละเอียดดังนี้อนึ่ง โครงการขยายกำลังการผลิตไฟฟ้าพลังงานความร้อนร่วมนี้จะไม่กระทบกับโครงการ ผลิตไฟฟ้าพลังความร้อนร่วม 7.5 เมกะวัตต์เดิมที่ได้ดำเนินการไปแล้ว ซึ่งคาดว่าจะสามารถเปิดใช้ได้ตามกำหนดการเดิม คือ ภายในไตรมาสแรกของปี 2548
3. โครงการปรับปรุงกำลังการผลิต
ปัจจุบัน บริษัท ฯ ได้ทำการศึกษาโครงการเพื่อดำเนินการปรับปรุง ประสิทธิภาพของเครื่องจักรที่ใช้ในกระบวนการผลิตกระดาษ ของบริษัทด้วยการเพิ่มความเร็วของเครื่องจักร จากเดิมที่เดินเครื่องด้วยความเร็ว 300 ตัน/วัน เป็น 400 ตัน/วัน ซึ่งจะทำให้กำลังการผลิตของบริษัทเพิ่มขึ้นจาก 100,000 ตัน/ปี เป็นประมาณ 130,000 ตัน/ปี โดยคาดว่าจะใช้เงินลงทุนในโครงการนี้ประมาณ 80 ล้านบาททั้งนี้ เมื่อการปรับปรุงกำลังการผลิตดังกล่าวแล้วเสร็จ จะทำให้บริษัทสามารถผลิตสินค้าได้เพิ่มขึ้นอีกประมาณร้อยละ 30 ของยอดกำลังการผลิตเดิม ซึ่งจะก่อให้เกิดรายได้ที่สูงขึ้นตามมาด้วยเช่นกัน เนื่องจากในปัจจุบันปริมาณความต้องการสินค้า ของบริษัทมีมากกว่าความสามารถในการผลิตของบริษัท

ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ :ช่วยลดต้นทุนด้านพลังงาน รวมทั้งช่วยให้ระบบการจ่ายกระแสไฟฟ้าของโรงงานมีเสถียรภาพมากยิ่งขึ้น
เงินลงทุน :ประมาณ 50 ล้านบาท
ระยะเวลาคืนทุน :ประมาณ 3.5 ปี
ระยะเวลาดำเนินการ :คาดว่าจะแล้วเสร็จประมาณเดือนมกราคม 2549
แหล่งที่มาของเงินทุน :เงินทุนหมุนเวียนของบริษัท

4. โครงการเพิ่มสายการผลิต
ติดตั้งเครื่องจักรใหม่สำหรับกระบวนการผลิตกระดาษคราฟท์ ด้วยเงินลงทุน 1,650 ล้านบาท มีความสามารถในการผลิตได้สูงสุด 500 ตันต่อวัน ส่งผลให้กำลังการผลิตโดยรวมเพิ่มขึ้นเป็น 800 ตันต่อวัน หรือ 264,000 ตันต่อปี แล้วเสร็จและสามารถทดลองเครื่องจักรได้ใน ธ.ค. 2559 ซึ่งจะเริ่มจำหน่ายสินค้าได้ตั้งแต่ต้นปี 2560 เป็นต้นไป
5. FSC Certified
ได้รับการรับรอง FSC (Forest Stewardship Council) สำหรับกิจกรรมการผลิตที่เป็นการอนุรักษ์ป่าไม้ ในเดือน พ.ย. 2562 นับเป็นการสร้างและส่งเสริมจิตสำนึกในการรักษาสิ่งแวดล้อม
6. โครงการ You Use U-Care
รณรงค์การจำหน่ายผลิตภัณฑ์ของบริษัทที่ผลิตจากกระดาษรีไซเคิล 100% เช่น KJ, KAU, KX, CJ ภายใต้โครงการ You Use U-Care ในระหว่างปี 2562 มุ่งเน้นให้ผู้บริโภคตระหนักถึงความสำคัญของป่าไม้ หันมาอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมด้วยการใช้กล่องกระดาษที่ผลิตจากกระดาษรีไซเคิล 100% กันมากขึ้น
7. โครงการปรับเปลี่ยนเครื่องจักรใหม่ สำหรับกระบวนการเตรียมวัตถุดิบ
เพื่อทดแทนเครื่องจักรเดิม โดยจะสามารถเพิ่มคุณภาพน้ำเยื่อกระดาษ แก้ไขปัญหาคอขวดในกระบวนการผลิตโดยรวม และเพิ่มกำลังการผลิตน้ำเยื่อกระดาษได้อีกราว 200 ตันต่อวัน หรือเพิ่มกำลังการผลิตสำหรับลูกม้วนกระดาษได้ราว 2,000 ตันต่อไตรมาส ซึ่งคาดว่าจะใช้เงินลงทุนจากเงินทุนหมุนเวียนของบริษัทราว 250 ล้านบาท กำหนดแล้วเสร็จราวต้นไตรมาส 2 ของปี 2566 ซึ่งจะมีระยะเวลาคืนทุนราว 1 ปี
Stock3
8. โครงการติดตั้ง CFB Boiler 70T/Hr
ด้วยเงินลงทุนจากกระแสเงินสดของบริษัทเองราว 200 ล้านบาท สามารถผลิตไฟฟ้าได้ 12 MW/H ซึ่งจะสามารถเพิ่มประสิทธิภาพและลดต้นทุนการผลิตได้ โดยคาดว่าจะแล้วเสร็จในปลายปี 2567

ข้อมูล ณ วันที่ 23 สิงหาคม 2566
ชื่อผู้ถือหุ้น/กลุ่มผู้ถือหุ้น
จำนวนหุ้น
ร้อยละของหุ้น
1) นายวัชชระ ชินเศรษฐวงศ์
140,827,400
21.67
2) บริษัท ยูเนียนเปเปอร์คารตอนส์ จำกัด
72,142,230
11.10
3) นางอัจฉรา ชินเศรษฐวงศ์
60,679,000
9.34
4) นายมงคล มังกรกนก
48,530,300
7.47
5) บริษัท อาเซี่ยนคอมมอดิตี้ส์ จำกัด39,153,0006.02
6) บริษัท ไทยเอ็นวีดีอาร์ จำกัด
24,501,166
3.77
7) นางสุชาดา มังกรกนก
20,000,000
3.08
8) นางสาวสุภัททา บุญนำทรัพย์
10,290,000
1.58
9) กองทุนเปิด กรุงศรีหุ้นระยะยาวปันผล LTF
8,653,500
1.33
10) กองทุนเปิด กรุงศรีหุ้นปันผล
8,420,300
1.30
รวม
433,196,896
66.65
อื่นๆ
216,803,104
33.35
รวมทั้งสิ้น
650,000,000
100.00

คณะกรรมการบริษัท

1. นายมงคล มังกรกนกประธานกรรมการ, กรรมการผู้จัดการใหญ่ และประธานกรรมการบริหาร
2. นายวัชชระ ชินเศรษฐวงศ์กรรมการผู้จัดการ และกรรมการบริหาร
3. ดร.ชิน ชินเศรษฐวงศ์กรรมการ และกรรมการบริหาร
4. นายบุญนำ บุญนำทรัพย์กรรมการ
5. นายกำจร ชื่นชูจิตต์กรรมการอิสระและกรรมการตรวจสอบ
6. นายสุรเชษฐ์ ทรัพย์สาครกรรมการอิสระและประธานกรรมการตรวจสอบ
7. ดร.ถกล นันธิราภากรกรรมการอิสระและกรรมการตรวจสอบ